SEA Games 2017 Preview: Indonesia

Indonesia has solidly planted themselves as the largest threat to Philippines thrones in these past two years, with two consecutive Silver Medals in SEA Games 2015 and SEABA 2017.

Can they make it a Gold in SEA Games 2017?

[อ่านภาษาไทย คลิกที่นี่เลยครับ]

Overview

While Thailand held a lead and lost it against the Philippines in SEA Games 2015, Indonesia hung close to the champions but constantly nipping at their heals. They must have felt that they were doing something right, so much similar to Thailand, they retained the core and have worked here and there with it.

Mario Wuysang is still going at 38-years-old and judging from his performance in SEABA 2017, it doesn’t seem like he’s about to stop soon as he’s returned for this SEA Games. Arki Wisnu and Sandy Kurniawan are also back in the backcourt which returns Filipino-Indonesian Biboy Enguio. The experiment with Jamarr Johnson looked promising for a while, but didn’t work out as Indonesia immediately replaced him (With Enguio) in their training camps after SEABA.

According to reports, Indonesia has had a lot of time bonding and tuning up competitively. They’ve had two separate training camps in the United States and Lithuania (where they played against the Estonia National Team).

The holdover core (also including Christian Sitepu and Andakara Prastawa) is a solid contending core already, but the addition of young bloods and shift of style makes this an intriguing team.


Players

First Name Surname DOB Team
Kevin Yonas Argadiba Sitorus 17/07/1994 Satria Muda Pertamina
Mario Wuysang 05/05/1979 CLS Knights
Hardianus Lakudu 07/03/1992 Satria Muda Pertamina
Andakara Prastawa Dhyaksa 16/08/1992 W88 Aspac
Christian Ronaldo Sitepu 27/10/1986 Satria Muda Pertamina
Abraham Damar Grahita 08/10/1996 W88 Aspac
Arki Dikania Wisnu 15/03/1988 Satria Muda Pertamina
Diftha Pratama 06/11/1989 Garuda Bandung
Sandy Febiansyah Kurniawan 16/02/1986 CLS Knights
Firman Dwi Nugruho 16/10/1990 CLS Knights
Ebrahim Enguio Lopez 31/01/1988 N/A
Vincent Rivaldi Kosasih 17/06/1996 W88 Aspac

Schedule (According to Malaysia Time GMT +8)

20/8 08:00 PM vs. Vietnam
22/8 15:45 PM vs. Singapore
23/8 15:45 PM vs. Cambodia
24/8 15:45 AM vs. Laos


Player(s) to Watch

Player Notable Stats Competition Team
Mario Wuysang 20.9 MPG, 11.0 PPG, 5.3 APG SEABA ‘Chip 2017 Indonesia
Abraham Grahita 19.4 MPG, 11.3 PPG, 30.6 3P% SEABA ‘Chip 2017 Indonesia
Vincent Kosasih 10.1 MPG, 6.5 PPG, 7.0 RPG IBL W88 Aspac

Watch Mario “forty in two years” Wuysang work his magic.

Photo Credit: Onvisa Thewphaingarm

Abraham Grahita is another player to watch as an explosive scorer and only 20 years old. He still struggles to be consistent (as every 20-year-old does) but when he explodes, he can really burst out scoring.

Photo Credit: Onvisa Thewphaingarm

The final mystery piece of this puzzle is Vincent Rivaldi Kosasih. The young big man rarely played in his rookie year with W88 Aspac due to commitments with studies in China (correct me if I’m wrong here), but it appears that he played well enough in those short spurts to grant an NT roster spot. Indonesia is going to need some size down low, even if it seems they will try to go small and Kosasih fills in that need.

Photo Credit: Timas Basket

What to Expect

We shouldn’t be expecting the same style of play from this Indonesia National Team compared to SEA Games 2015 or even the SEABA 2017 squad. The SEA Games 2015 squad had more size (Adhi Pratama, Rony Gunawan) and the SEABA 2017 squad ran through too many eligibility issues to figure out what to do.

AND THEY STILL FINISHED IN SECOND PLACE.

This team will have had more time to play with each other and they are projected to be playing at a faster and more fluid pace.

Indonesia will need to stay composed in their early game (tournament opening game!) against a Vietnam team they’ve never seen play together, but the rest of their schedule seems pretty easy to go through.


3 Key Points

  1. Respect Your Elders
    We’re all here thinking that Wuysang has got to slow down at some point, but he’s still chugging along like your dad’s car that somehow seems to have outlived everyone else’s dad’s car that you’re stuck with.
    Prastawa hasn’t showed that he’s ready to run the Indonesia offense (even after 2 straight major tournaments) and Lakudu is still far away, so Indonesia is going to be relying a lot on how far Wuysang keeps their offense going.
  2. Perimeter Defense
    It’s difficult to judge Indonesia on their perimeter defense, considering that they did beat every team other than the Philippines in SEABA 2017. But it is still concerning that they seem to lack a definite perimeter wing lockdown defender.
    Maybe they’ve found someone designated to play that role since then, but it could prove to be a thorn in their quest for a medal repeat if they haven’t.
  3. Big Men Production
    Indonesia’s offence will mainly come from their perimeter players, so it’s going to be important for their big men (Sitepu, Kosasih, Nugruho) to play efficiently enough to force keep the defence grounded.
    If defences aren’t pressured to stay near the paint, it’s going to make life a lot much harder for Wisnu, Enguio, and most importantly sharpshooting Kurniawan.

Bottom Line

Indonesia is conveniently structured for a chance at a second straight trip to the Finals. The schedule is in their favor as well, if they can over come their biggest threats early. If things go as projected, Indonesia will have decent rest before their semi-finals clash should they advance.

They certainly have the tools, experience, and preparation to have fans considering the possibility of someone overtaking the throne. It’s borderline impossible for them to not make it to the semis and they should at least set their target for nothing less than a finals appearance. These are the standards that are set for Indonesia basketball right now.

Can they set the bar even higher this time?

More Previews

Philippines
Indonesia
Singapore
Thailand
Malaysia
Cambodia
Vietnam
Myanmar
Laos


อ่านภาษาไทยต่อจากนี้เลยครับ


ทีมชาติอินโดนีเซียได้ปักหลักชัดเจนว่าเป็นทีมที่เข้าใกล้ทีมชาติฟิลิปปินส์มากที่สุดชาติหนึ่งในรอบสองปีที่ผ่านมา ด้วยผลงานเหรียญเงินสองเหรียญติดๆ กันในรายการ SEA Games 2015 และชิงแชมป์ SEABA 2017

หรือว่ารอบนี้ จะพัฒนามาเป็นคว้าทอง?!

[For English, read here]

ภาพรวม

ในเกมที่เจอกับทีมชาติฟิลิปปินส์ ทีมชาติไทยเป็นฝ่ายนำไปก่อน แล้ว กลับมาแพ้ให้ทีมชาติฟิลิปปินส์ ส่วนทางทีมชาติอินโดนีเซียก็ไล่งับตลอดทั้งเกม แต่ตามไม่ทัน ซึ่ง คงทำให้ตามทีมต่างรู้สึกว่า เออ เราคงเริ่มทำอะไรถูกบ้างแล้วแหละ… แล้วทั้งคู่ก็ตัดสินใจที่จะรักษาแกนหลักของทีมเอาไว้ แล้วต่อยอดเพิ่มเข้าไป

มาริโอ วุยซาง ถึงจะอายุ 38 แล้วแต่ก็ยังคงความแรงไว้ได้อยู่ เห็นได้จากผลงานใน SEABA 2017 แถมยังดูเหมือนว่าน่าจะเล่นได้เรื่อยๆ และกลับมาเล่นใน SEA Games ครั้งนี้ นอกจากวุยซางก็ยังมี อาร์กี้ วิสนุ กับ ซานดี้ คูร์เนียวาน ที่มาเล่นวงนอกด้วยกัน พร้อมกันกลับมาร่วมทัพของลูกครึ่งฟิลิปปินส์-อินโดนีเซีย บิบอย เองเกียว ซึ่งเป็นผลมาจากการที่เรียกใช้งาน จามาร์ จอห์นสัน แล้วได้ผลไม่ดีเท่าที่คาด

จากแหล่งข่าวต่างๆ นั้น ทีมชาติอินโดนีเซีย มีการเข้าค่ายซ้อมกันมานาน อีกทั้งยังมีการเก็บตัวที่อเมริกา กับ ลิธัวเนีย (ซึ่งได้ลงเล่นกับทีมชาติเอสโตเนียด้วย)

กลุ่มผู้เล่นชุดเก่า (ซึ่งมี คริสเตียน สิเตปู กับ อันดาคารา ปราสตาวา อีกสองคน) เป็นแกนหลักของทีมที่แข็งอยู่แล้ว แต่การที่เสริมเลือดใหม่ กับ เปลี่ยนรูปแบบการเล่นจากชุดที่แล้ว ทำให้ทีมนี้เป็นทีมที่น่าจับตามองกันยาวๆ


รายชื่อผู้เล่น

ชื่อ นามสกุล วันเกิด สังกัด
เควิน โยนัส อาร์กาบิดา สิโตรุส 17/07/1994 Satria Muda Pertamina
มาริโอ้ วุยซาง 05/05/1979 CLS Knights
ฮาร์ดิอานุส ลาคูดู 07/03/1992 Satria Muda Pertamina
อานดาคารา ปราสตาวา ดิยักซา 16/08/1992 W88 Aspac
คริสเตียน โรนัลโด สิเตปู 27/10/1986 Satria Muda Pertamina
อับราฮัม ดามาร์ กราฮิตา 08/10/1996 W88 Aspac
อาร์กี้ ดิคาเนีย วิสนุ 15/03/1988 Satria Muda Pertamina
ดิฟตา ปราตามา 06/11/1989 Garuda Bandung
ซานดี้ เฟเบียนสิยา คูร์เนียวาน 16/02/1986 CLS Knights
ฟิร์มาน ดวิ นูกรูโฮ 16/10/1990 CLS Knights
เอบราฮิม เองเกียว โลเปซ 31/01/1988 N/A
วินเซนต์ ริวัลดี โคซาซี 17/06/1996 W88 Aspac

ตารางการแข่ง (ตามเวลาประเทศมาเลเซีย GMT +8)

20/8 08:00 PM vs. เวียดนาม
22/8 15:45 PM vs. สิงคโปร์
23/8 15:45 PM vs. กัมพูชา
24/8 15:45 AM vs. ลาว


ผู้เล่นที่น่าจับตามอง

ชื่อ สถิติ รายการ ทีม
มาริโอ วุยซาง 20.9 MPG, 11.0 PPG, 5.3 APG SEABA ‘Chip 2017 Indonesia
อับราฮัม กราฮิตา 19.4 MPG, 11.3 PPG, 30.6 3P% SEABA ‘Chip 2017 Indonesia
วินเซนต์ โคซาซี 10.1 MPG, 6.5 PPG, 7.0 RPG IBL W88 Aspac

จับตาดู ปู่มาริโอ วุยซาง วาดลวดลายอีกครั้ง แม้ว่าอีกสองปีเขาจะอายุ 40 แล้วก็ตามเถอะ…

Photo Credit: Onvisa Thewphaingarm

นอกจากนี้แล้ว ยังมี อับราฮัม กราฮิตา ที่น่าสนใจด้วยวันเพียง 20 ปี แต่เป็นตัวทำคะแนนกระจุยกระจายได้แล้ว เขายังมีปัญหาในการเล่นให้ได้อย่างคงที่ (เหมือนเด็กวัย 20 ทั่วไปนั่นแหละ) แต่พอเขาได้ระเบิดฟอร์มจริงๆ ก็จิ๊ดจ๊าดเจ็บถึงทรวงอยู่เหมือนกัน

Photo Credit: Onvisa Thewphaingarm

ชิ้นส่วนปริศนาคนสุดท้ายก็คือ วินเซนต์ ริวัลดี โคซาซี ซึ่งเป็นผู้เล่นอายุน้อยอีกคน แต่เล่นวงใน เขาแทบไม่ได้เล่นในปีแรกของเขากับทีม W88 Aspac เนื่องจากติดภาระทางการศึกษาที่จีน แต่ดูเหมือนว่าเขาจะเล่นดีพอในช่วงเวลาสั้นๆ นั้น ทำให้มีความสนใจจะดึงตัวมาเล่นทีมชาติ ทีมชาติอินโดนีเซียชุดนี้ แม้ดูเหมือนจะเริ่มผันไปเล่นสมอลล์บอลมากขึ้น แต่ยังไงก็ต้องการตัวใหญ่ๆ ข้างในบ้าง ซึ่ง โคซาซี ก็ตอบโจทย์ตรงนี้ได้

Photo Credit: Timas Basket

สิ่งที่คาดหวังได้

อย่างแรกเลย คือ ไม่ควรคาดหวังรูปแบบการเล่นแบบเดิมจากทั้ง SEA Games 2015 หรือแม้แต่ SEABA 2017 ทีมชุด SEA Games 2015 นั้น รูปร่างใหญ่ ยาว กว่า (มีทั้งอาดี้ ปราตามา กับ โรนี่ กุนาวัน) ส่วนทีม SEABA 2017 ก็เจอปัญหาเรื่องผู้เล่นมากมายจนรูปแบบน่าจะรวนและปรับสภาพตามหน้าผ้า

…แต่สำหรับทั้งสองรายการก็ยังจบด้วยตำแหน่งอันดับสองได้อยู่ดี!

ทีมชุดนี้ ได้มีโอกาสได้เล่นด้วยกันมากกว่าชุดที่ผ่าน และตามคาดการณ์แล้ว น่าจะเล่นเร็วกว่า และ ลื่นไหวกว่า

ทีมชาติอินโดนีเซียจะต้องคุมให้ได้ในเกมเปิดรายการแข่งขันที่เจอกับทีมชาติเวียดนามที่จะไม่เคยเห็นฟอร์มมาก่อน แต่นอกจากนั้น ตารางการแข่งก็ถือว่าน่าจะผ่านไปได้ไม่ยาก


3 กุญแจสำคัญ

  1. เคารพผู้ใหญ่ซะนะเด็ก
    ทุกคนต่างก็คิดว่า ซักวันหนึ่ง ไอ้มาริโอนี้มันต้องแก่จนไม่ไหวแน่ๆ… แต่ท้ายสุดแล้ว เขาก็ยังสามารถเล่นต่อมาได้เรื่อยๆ
    ปราสตาวา ยังไม่ฉายแววที่พร้อมจะรับบทการ์ดจ่ายหลัก (ทั้งที่ผ่านการเล่นรายการใหญ่มาแล้วสองครั้งติดๆ) และ ลาคูดู นั้น ยังไม่พร้อมแน่ๆ ด้วยการติดทีมชาติชุดใหญ่ครั้งแรก เพราะฉะนั้น ทีมชาติอินโดนีเซียกำลังจะต้องหวังพึ่งวุยซางในการเดินเกมรุกให้รอดตลอดฝั่งในครั้งนี้
  2. การป้องกันวงนอก
    การที่จะมาบ่นหรือติเรื่องการป้องกันวงนอกของอินโดนีเซียอาจจะฟังดูแล้วแปลกๆ เพราะท้ายที่สุดแล้ว อินโดนีเซียก็ยังไม่แพ้ใครนอกจากฟิลิปปินส์ในรายการ SEABA 2017 และ SEA Games 2015 แต่แล้วมันก็ยังดูน่าเป็นห่วงที่ยังไม่มีใครก้าวขึ้นมาเป็นตัวปิดตายปีกทำแต้มของฝั่งตรงข้าม
    ไม่แน่ว่า ป่านนี้ อาจจะหาคนที่จะมารับบทนั้นได้แล้ว แต่ถ้ายังหาไม่เจอจริงๆ ก็อาจจะเป็นตัวขัดขวางไม่ให้ไปถึงฝั่งฝันกับการคว้าเหรียญ SEA Games ครั้งนี้
  3. ประสิทธิภาพการเล่นวงใน
    การบุกของทีมชาติอินโดนีเซีย หลักๆ แล้วจะมาจากวงนอก เพราะฉะนั้น มันจึงเป็นเรื่องสำคัญที่ตัววงในอย่าง สิเตปู โคซาซี กับ นูกรูโฮ ที่จะเล่นอย่างมีประสิทธิภาพ เพราะรั้งกดดันตัวประกบให้ฝังข้างในตลอด
    ถ้าวงในไม่สามารถกดดันฝ่ายป้องกันได้ ก็จะทำให้ตัวโกยคะแนนอย่าง วิสนุ, เอ็งเกียว, และ คูร์เนียวาน เล่นได้ยาก

สรุป

ด้วยโครงสร้างของทีมและตารางแข่งแล้ว ถือว่า เป็นความได้เปรียบของทีมชาติอินโดนีเซีย สำหรับการเข้าไปชิงอีกครั้ง ถ้าหากสามารถจัดการขวากหนามที่ขวางทางแต่เนิ่นๆ ถ้าทุกอย่างเป็นไปตามแผน อินโดนีเซีย ก็จะได้พักผ่อนอย่างดีก่อนที่จะลุยในรอบรองชนะเลิศ

พวกเขามีวัตถุดิบ ประสบการณ์ และ การเตรียมพร้อมที่มากพอที่จะทำให้แฟนๆ เริ่มคิดเล่นๆ ว่าอาจจะมีทีมที่จะสามารถล้มราชันย์อย่างฟิลิปปินส์ลงได้ มันเกือบจะเป็นไปไม่ได้ที่อินโดนีเซียจะไม่สามารถลุยไปถึงรอบรองชนะเลิศได้ และเป้าหมายก็ควรตั้งไว้ที่รอบชิงเป็นอย่างต่ำ นี่คือ มาตรฐานของวงการบาสอินโดนีเซีย ณ ขณะนี้

แต่คราวนี้ จะสามารถเซ็ทมาตรฐานใหม่ให้กับตัวเองได้หรือไม่?

พรีวิวอื่นๆ

ฟิลิปปินส์
อินโดนีเซีย
สิงคโปร์
ไทย
มาเลเซีย
กัมพูชา
เวียดนาม
เมียนมาร์
ลาว

Advertisement

Leave a Reply

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  Change )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  Change )

Connecting to %s

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.