FIBA Asia Challenge 2016: Thailand vs Japan Preview

This is the chance for Thailand! Japan isn’t sending their best squad. This is the time to pounce!

[อ่านภาษาไทย คลิกที่นี่เลยครับ]

No Sakurangi Hanamichi.
No Rukawa Kaede.

670px-010250768-slamdunk1

Not even one of the Golden Generations.

kuroko-no-basket-ss2

LOL. Jokes aside, this Japan National Team squad really isn’t what their fans are usual to seeing play in international competition. Unlike the Korean National Team, it seems like Japan has only a couple of regulars.

Makoto Hiejima is one of those veterans. The 26-year-old has played on the Senior team in major FIBA events since 2013 with a recent breakout of 15.9 point average in the 2015 FIBA Asia Championship. He carried the team in their match up against Korea in the first game of the FIBA Asia Challenge going for 29 points and shot 4/6 from long range.

Photo Credit: FIBA
Photo Credit: FIBA

Alongside Hiejima, Japan will be fielding Ira Brown as their main inside presence. Ira Brown doesn’t look Japanese at all, and for a good reason: he isn’t. Ira Brown is a Naturalized basketball player who was granted Japanese Nationality to represent their nation. Brown is 34-years-old and played basketball in the NCAA Division 1 level for Gonazaga University. He’s recently played professionally in Japan and performed impressively enough to get this opportunity.

Interestingly, the last time Japan paraded a Naturalized player was in 2013, when they had Milton “JR” Henderson who made a name for himself by changing his name to JR Sakuragi (after the famous manga character) when he gained Japanese nationality.

Japan is ranked 48th in the FIBA World rankings and 8th in Asia, which might make it seem like a slightly easier competition that the Korea game. However, Japan and Korea both play a similar spacing/jumpshooting game. If Thailand struggles to make adjustments from yesterday, I wouldn’t be surprised if the results are similar.


Game Breakdown

The majority of Thai players got their first taste of Asia-level basketball and this game might show us more about each player. Most importantly, it will show how each player reacts to the exposure, whether they become passive or explode from the taste of blood on their lips.

On defense, Thailand has to get their engines started faster than they did against Korea. In the second half, the movement of defense looked better and reacted to the Korean shooters more quickly (even if Korea still made those shots anyways…). But the telling tale is that it took them one full half to get into that zone. Transition defense is also going to be something that Thailand has got to improve on, as Korea often found themselves outnumbering the Thais on fastbreak situations.

Offense is somewhat a more concerning issue for Thailand. The Korean defense deserves credit for their rotation, but Thailand also struggled to generate any flow. The plays seem broken and the players looked a second or two behind making decisions with the ball. There would be flashes of optimism spread around here and there, but Thailand still lacked consistency. The coaching staff has got to focus on keeping their young players heads within the game and at least get them playing along the line of their game plan.

It’s going to be a tough game against Japan for sure (as mostly all games in this tournament will be), but the Korea game showed that Thailand still has room for improvement and that’s what I’ll be looking forward to see in this game.


Key Player (Japan): Makoto Hiejima

Photo Credit: FIBA
Photo Credit: FIBA

Ira Brown is big, but he isn’t huge. He’ll be troublesome for the Thailand frontline…but I think they can handle him efficiently enough.

In my honest opinion, keep Makoto Hiejima under control should be more crucial for Thailand’s chances in this game. Judging from his statistics, Heijima seems to be able to catch fire if given the chance and it will be up to the Thailand wings to stick close to him.

If Thailand can keep his shots limited and stick with Ira Brown, I think they can have a shot.


Key Player (Thailand): Wuttipong Dasom

Photo Credit: Basketball Thailand FB Page
Photo Credit: Basketball Thailand FB Page

One glaring hole from yesterday’s game against Korea was Thailand’s lack of a consistent offensive threat. The players looked a little passive and too shy to take their own shots sometimes, which shows how young they really are.

Dasom had some good moments when he looked aggressive to take/make his shots and that is crucial to them teams success to have at least one guy that isn’t going to shy away from that responsibility.


Summary

game2


อ่านภาษาไทยต่อจากนี้เลยครับ


longshot2

โอกาสนี้แหละ ทีมชาติญี่ปุ่ยไม่ยอมส่งชุดทีมชาติที่ดีที่สุดมา ถึงเวลาทีมชาติไทยต้องฉวยโอกาสตรงนี้ให้ได้!!

[For English, Read here]

ไม่มีทั้ง ซากุรางิ ฮานามิจิ หรือ คุคาว่า คาเอเดะ…

670px-010250768-slamdunk1

ไม่มีแม้แต่ เหล่า Golden Generations แม้แต่คนเดียว…

kuroko-no-basket-ss2

…เออ ไม่ตลกก็ได้

แต่ความจริง ก็เป็นแบบนั้นจริงๆ ทีมชาติญี่ปุ่นชุดนี้ ไม่ใช่ชุดที่แฟนๆ บาสชาวแดนอาทิตย์อุทัยคุ้นเคยกันซักเท่าไหร่นัก ซึ่งอาจจะไม่เหมือนกับทีมชาติเกาหลี ที่ไทยเพิ่งเจอในเกมที่ผ่านมา ที่ขนขาประจำมาครึ่งทีม

แต่ในรายชื่อตัวทีมชาติญี่ปุ่นก็มี มาโคโตะ ฮิเอจิมะ หนึ่งคน ที่ถือว่า วนเวียนอยู่ในสังเวียนระดับใหญ่นี้อย่างต่อเนื่อง การ์ดทำแต้มวัย 26 ปีคนนี้ เล่นในทีมชาติชุดใหญ่มาเรื่อยๆ ในรายการของ FIBA มาตั้งแต่ปี 2013 อีกทั้งในรายการ FIBA Asia Championship 2015 ยังทำแต้มเฉลี่ยที่ 15.9 แต้มต่อเกมด้วย
ในเกมแรกของรายการ FIBA Asia Challenge นี้ ฮิเอจิมะ ทำไป 29 แต้ม แถมยิงสามแต้ม 4/6 ตอนที่เจอทีทชาติเกาหลี

Photo Credit: FIBA
Photo Credit: FIBA

นอกจากฮิเอจิมะแล้ว ทีมชาติญี่ปุ่นก็จะมี อิรา บราวน์ เป็นตัววงในหลักของทีม
สำหรับใครที่สงสัยว่า บราวน์ นี่มันเชื้อสายจากปู่หรือ ย่า ฝั่งไหน ก็จะไขความข้องใจตรงนี้แหละครับ ว่า บราวน์ เป็นนักกีฬา โอนสัญชาติแท้ๆ เลยครับ นักบาสชาวอเมริกันวัย 34 ปีคนนี้ ได้รับสัญชาติญี่ปุ่นมาไม่นาน ถึงได้มีโอกาสมารับใช้ชาติในเวลทีแห่งนี้ บราวน์เคยเล่นในระดับ NCAA ดิวิชั่น 1 ที่มหาวิทยาลัย กอนซากา และก็เล่นใรระดับอาชีพที่ประเทศญี่ปุ่นมาอย่างต่อเนื่องตลอดช่วงที่ผ่านมา

เรื่องที่น่าสนใจคือ ครั้งสุดท้ายที่ทีมชาติไทยมีการใช้งานผู้เล่นโอนสัญชาติคือ เมื่อปี 2013 ที่มี มิลตัน”เจอาร์” เฮนเดอร์สัน ที่โด่งดังจากการที่เปลี่ยนชื่อตัวเองเป็น เจอาร์ ซากุรางิ (ตามชื่อตัวการ์ตูนนั่นแหละ) ตอนที่ได้รับสัญชาติญี่ปุ่น

อันดับโลกใน FIBA ของทีมชาติญี่ปุ่นอยู่ที่ 48 ส่วนใน Asia อยู่ที่ 8 เพราะฉะนั้น มองแล้ว อาจจะรู้สึกเหมือนว่าเกมคงเบากว่าเกมที่เจอเกาหลีเล็กน้อย แต่ทางด้านรูปแบบการเล่นแล้ว ทั้งสองทีม (ญี่ปุ่น-เกาหลี) ก็เล่นรูปแบบคล้ายๆ กัน คือ การใช้พื้นที่ในการหาจังหวะจั๊มป์ยิง ถ้าทีมชาติไทยไม่สามารถปรับรูปเกมจากที่เจอไปเมื่อวานได้ ก็อาจจะเจอกับผลการแข่งขันแบบเดิมได้


วิเคราะห์เกมเบาๆ

ผู้เล่นของทีมชาติไทยส่วนใหญ่ก็ได้ลิ้มลองรสชาติของบาสเกตบอลระดับเอเชียเป็นครั้งแรก เพราะฉะนั้น เกมถัดมาเกมนี้ จะเป็นเกมที่จะวัดผู้เล่นแต่ละคนได้ระดับหนึ่ง ว่าเจอการเล่นระดับสูงๆ แล้วจะตอบโต้หรือระเบิดฟอร์มออกมาอย่างไร

ในเกมป้องกัน ทีมชาติไทยจะต้องสตาร์ทตัวได้เร็วกว่าในเกมที่เจอกับเกาหลีให้ได้ ในช่วงครึ่งหลัง ทีมชาติไทยดูมีการเคลื่อนไหวที่รวดเร็วขึ้นและเข้าประกบตัวยิงของเกาหลีเร็วขึ้น (ถึงแม้ว่าเขาจะยิงแม่นระดับพระกาฬก็ตามที) สิ่งที่น่าเสียดายคือ ทีมชาติไทยต้องใช้เวลาในการตั้งตัวถึง ครึ่งเกม กว่าจะเข้ารูปในเรื่องเกมป้องกันได้
อีกอย่างที่ต้องปรับก็คือ เกมป้องกันการสวนกลับ ซึ่งเห็นได้หลายๆ ครั้งที่ทีมชาติเกาหลีสวนกลับไปด้วยจำนวนผู้เล่นที่มากกว่า

ที่น่าเป็นห่วงมากกว่าคือเกมบุก ที่ต้องให้เครดิตกับความสามารถในการป้องกันของทีมชาติเกาหลี แต่ในทางเดียวกัน ทีมชาติไทยเองก็ติดๆ ขัดๆ ในการสร้างการไหลของเกมบุกเองด้วย แผนบุกแต่ละครั้งดูจะมีจุดสะดุด และต้องประยุกต์ตลอด และผู้เล่นแต่ละคนก็ยังดูเหมือนตัดสินใจช้าไปหนึ่งหรือสองวินาทีเวลาได้บอล
แน่นอนว่า มีหลายๆ จังหวะที่ดูแล้วมีความหวังอยู่ หากแต่ว่าแต่ละจังหวะทิ้งช่วงกันเกินไป จนไม่มีการไหลของเกมที่ไปทางทีมชาติไทยเท่าไหร่เลย ทางสต๊าฟของทีมชาติไทยจะต้องหาทางให้ผู้เล่นที่ยังประสบการณ์น้อยในทีมนี้รักษาและยกระดับการเล่นให้ได้

เกมที่จะเจอกับญี่ปุ่น เป็นเกมที่เล่นยากแน่นอน (แทบทุกเกมในการแข่งขันนี้ จะต้องลุ้นเหนื่อยแน่ๆ) แต่ ในเกมที่เจอกับเกาหลีได้แสดงให้เราเห็นแล้วว่า จุดไหนที่เราสามารถจะปรับปรุงพัฒนาได้ ซึ่งผมเองก็อยากเห็นเหมือนกันว่า เราจะจับจุดได้ถูกรึเปล่า


ตัวแปรสำคัญ (ทีมชาติญี่ปุ่น): มาโคโตะ ฮิเอจิมะ

Photo Credit: FIBA
Photo Credit: FIBA

อิรา บราวน์นั้นรูปร่างใหญ่ก็จริง แต่ก็ไม่ได้ใหญ่จนต้องน่าเป็นห่วงมาก วงในของทีมชาติไทยคงเหนื่อยหน่อยในการประกบ…แต่ผมยังเชื่อว่า บราวน์ไม่น่าจะได้เปรียบมากขนาดนั้น

ถ้าเอาความเห็นของผม ผมว่า การกัก ยอดดาวยิง มาโคโตะ ฮิเอจิมะ ให้อยู่หมัด น่าจะเป็นประเด็นที่ตัวป้องกันของทีมชาติไทยต้องมุ่งความสนใจมากกว่า ดูจากตัวเลขแล้ว ฮิเอจิมะ เป็นคนที่เครื่องติดได้ง่าย เพราะฉะนั้นถ้าปีกของทีมชาติไทยเผลอเมื่อไหร่ ก็อาจจะโดนรันแต้มยาวได้

ถ้าทีมชาติไทยสามารถที่จะจำกัดโอกาสในเกมบุกของ ฮิเอจิมะ และ ประกบ บราวน์ ได้พอตัว คิดว่าทีมชาติไทยก็ยังพอมีโอกาสจะชนะเกมนี้ได้อยู่บ้าง


ตัวแปรสำคัญ (ทีมชาติไทย): วุฒิพงษ์ ดาโสม

Photo Credit: Basketball Thailand FB Page
Photo Credit: Basketball Thailand FB Page

รูโหว่ของเกมบุกของทีทชาติไทยที่เห็นได้จากเกมที่เจอเกาหลีเมื่อวานมีชัดๆ 1 ที่คือ การที่ขาดตัวจบสกอร์อย่างเด็ดขาดหนึ่งคน ที่ทำได้อย่างต่อเนื่อง ผู้เล่นหลายๆ คนยังดูไม่กล้าที่จะจบสกอร์เอง ซึ่งก็แสดงให้เห็นว่าแต่ละคนยังขาดประสบการณ์พอสมควร

แต่ในหลายๆ ครั้งเกมเมื่อวานนั้น วุฒิพงษ์ ก็ดูเหมือนว่าจะมันความดุดันในการเข้าทำแต้มเอง และ หาจังหวะในการจบสกอร์อยู่ตลอด การที่ทีมชาติไทยจะมีซักคนหนึ่งที่พร้อมที่จะแบกรับภาระในเกมบุกซักคน เป็นเรื่องที่สำคัญต่อโอกาสในการชนะของทีมนี้


สรุป

game2

Advertisement

Leave a Reply

Fill in your details below or click an icon to log in:

WordPress.com Logo

You are commenting using your WordPress.com account. Log Out /  Change )

Facebook photo

You are commenting using your Facebook account. Log Out /  Change )

Connecting to %s

This site uses Akismet to reduce spam. Learn how your comment data is processed.